วตัถปุระสงค:์ เพื อศกึษาปจัจยัที สมัพนัธ์ต่อผลสมัฤทธิ ของการสอบใบประกอบ วชิาชพีเภสชักรรม (คะแนนผลการสอบ) ทั งการสอบขอ้เขยีนการบูรณาการความรู้ ทางเภสชัศาสตร์ (Multiple Choice Question; MCQ) และการสอบทกัษะทาง วิชาชีพเภสัชกรรม (Objective Structured Pharmaceutical Examination; OSPE) และปจัจยัที ทํานายผลสมัฤทธิ ของการสอบ วิธีการศึกษา: รวบรวมขอ้มูล ด้วยแบบสอบถามที ผู้ว ิจ ัยพัฒนาขึ นในกลุ่มประชากรนิสิตเภสัชศาสตร ์ มหาวทิยาลยัศรนีครนิทรวโิรฒ ที คาดว่าจะสําเร็จการศกึษาในปีการศึกษา 2553 และประสงค์เข้าสอบเพื อขอรบัใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเภสชักรรมในปี พ.ศ. 2554 ผลการศึกษา: เกรดเฉลี ยสะสม จํานวนวธิีที นิสติใช้เตรียมความพร้อม MCQ และระดบัทศันคตติ่อการสอบใบประกอบวชิาชีพฯ สมัพนัธ์เชิงบวกกับ คะแนนสอบ MCQ อย่างมนีัยสําคญัทางสถติ ิ(r = 0.803, 0.385 และ 0.309 ตามลําดบั (P < 0.05 ทั งหมด) ในขณะที เกรดเฉลี ยสะสมสมัพนัธ์เชงิบวกกับ คะแนนสอบ OSPE อย่างมนีัยสําคญัทางสถติ ิ(r = 0.654, P < 0.05) ปจัจยัที ทํานายคะแนนสอบ MCQ ได้อย่างมนีัยสําคญัทางสถิต ิ(0.05) คอื เกรดเฉลี ย สะสม และจาํนวนวธิทีี ใชเ้ตรยีมพรอ้มสอบ MCQ โดยอธบิายความแปรปรวนของ คะแนน MCQ ได ้67.3% ส่วนปจัจยัที ทํานายผลสอบ OSPE ไดอ้ย่างมนีัยสําคญั ทางสถติ ิไดแ้ก่ เกรดเฉลี ยสะสม โดยอธบิายความแปรปรวนของคะแนน OSPE ได ้41.6% (P < 0.001) สรปุ: เกรดเฉลี ยสะสมสมัพนัธ์กบัผลสมัฤทธิ ของการสอบ ใบประกอบวชิาชพีเภสชักรรมทั งสองส่วนและเป็นปจัจยัทํานายผลสมัฤทธิ ของการ สอบนี คณะเภสชัศาสตร์อาจวางแนวทางเบื องตน้ในการส่งเสรมิสนับสนุนใหน้ิสติมี การเตรยีมพรอ้มก่อนการสอบมากยิ งขึ นโดยเฉพาะกรณีที นิสติมเีกรดเฉลี ยสะสม ค่อนขา้งตํ า